ผู้หญิงกลิ้งโลก เล่ม 2 & คำนำผู้เขียน
แวะมาโฆษณาหนังสือใหม่ค่ะ – ผู้หญิงกลิ้งโลก เล่ม 2 เพิ่มเติมและเรียบเรียงเนื้อหาจาก 16 ตอนสุดท้ายของคอลัมน์ make a difference ในนิตยสาร
สวัสดีปีงูเล็ก & สรุปสิ่งที่ได้ทำและไม่ได้ทำ ปี 2012
ลาทีปีงูใหญ่ ปีหน้าท่าทางจะเป็นปีที่วุ่นวายมากอีกปีหนึ่ง ตั้งแต่สถานการณ์โลกลงมาถึงไทยและเรื่องใกล้ตัว โลกเข้าสู่ยุคแห่งความผันผวนปรวนแปรอย่างแท้จริงแล้ว แต่ “การบริหารความเสี่ยง” เป็นเรื่องที่ดูจะยังห่างไกลจากสำนึกของสังคม อาจเป็นเพราะสมาชิกในสังคมหลายคนมัวแต่แบ่งขั้วเยาะเย้ยถากถางคนอื่น เฮฮากับดราม่าออนไลน์ วุ่นวายกับปัญหาเฉพาะหน้า
e-book ใหม่: “เหล่าบล็อกเกอร์เยือนเยอรมนี” + “โลกาภิวัตน์และการเมืองสมัยโบราณ”
แวะมาโฆษณา e-book (PDF format) ใหม่เอี่ยมสองเล่มค่ะ เนื้อหาปรับปรุง เพิ่มเติม เรียบเรียง และเพิ่มภาพประกอบจากโพสท่องเที่ยวสองซีรีส์บนบล็อกนี้ คือ
สไลด์ประกอบการบรรยาย “จากหอคอยงาช้างสู่ข้าวแกงข้างถนน”
เพิ่งกลับจากเชียงใหม่ ไปร่วมเป็นวิทยากรในเวิร์คช็อป “ค่ายนักเขียน ธปท.” สามวัน ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ ร่วมกับเพื่อนนักเขียน(ผู้มีชั่วโมงบินเยอะกว่าและเก่งกว่ามาก) อีกสามท่าน
โลก(ไม่)ลืม คน(ไม่)สำคัญ + คน(ไม่)สำคัญ ฉบับ e-book
แนะนำหนังสือใหม่ของตัวเอง เล่มที่ 2 จาก 3 เล่มที่จะออกในงานมหกรรมหนังสือแห่งชาติ 18-28 ต.ค. 2555 ค่ะ
[แปล] การจัดการกับ “ไลค์ปลอม” ของเฟซบุ๊ก
[ช่วงนี้สังเกตเห็นจำนวน “ไลค์” บนหลายเพจบนเฟซบุ๊กลดลงฮวบฮาบ ไปอ่านบล็อกเฟซบุ๊กพบว่า ตั้งแต่ต้นเดือน ก.ย. 2555 ได้เริ่มใช้ระบบใหม่กำจัด “ไลค์ปลอม” โดยเฉพาะไลค์ที่ได้มาโดยไม่ซื่อ
บทบาทของนักลงทุนในการป้องปรามคอร์รัปชัน (2) : นโยบายออกเสียงแทน (proxy voting policy)
[เขียนคอลัมน์ รู้ทันตลาดทุน ให้กับหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจทุกจันทร์เว้นจันทร์ ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์และบนเว็บกรุงเทพธุรกิจด้วย แต่ตอนนี้เมื่อเช้าจัดหน้าเละมาก จนอ่านไม่รู้เรื่อง (ตอนนี้หายแล้ว) ก็เลยเอามาแปะบนบล็อกนี้ค่ะ]
บทบาทของนักลงทุนในการป้องปรามคอร์รัปชัน (2): นโยบายออกเสียงแทน (proxy voting policy)
(คอลัมน์ รู้ทันตลาดทุน ตอนที่ 78)
ตอนที่แล้วผู้เขียนพูดถึงเหตุผลและหลักการที่นักลงทุน โดยเฉพาะนักลงทุนสถาบัน ควรมีส่วนในการป้องปรามคอร์รัปชัน โดยสรุปข้อเสนอแนะจาก International Corporate Governance Network (ICGN) เครือข่ายนักลงทุนสถาบันด้านธรรมาภิบาลชั้นแนวหน้าของโลก
“เครื่องมือ” สำคัญชิ้นหนึ่งที่นักลงทุนสถาบันใช้ได้ง่ายๆ ในการต่อกรกับคอร์รัปชัน คือนโยบายการออกเสียงในฐานะตัวแทนผู้ถือหุ้น (proxy voting policy) เพราะไหนๆ กองทุนรวม กองทุนส่วนบุคคล ฯลฯ ก็มีหน้าที่ต้องไปประชุมผู้ถือหุ้นแทน (proxy) ผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นตัวจริงของบริษัทอยู่แล้ว ถ้ากองทุนเหล่านี้จะกำหนดนโยบายการออกเสียงหุ้นที่ถือให้สะท้อนหลักธรรมาภิบาลที่ดี ประกาศนโยบายเหล่านั้นต่อสาธารณะและทำตามอย่างเคร่งครัด ก็จะเป็นก้าวที่สำคัญต่อการยกระดับธรรมาภิบาลของบริษัทจดทะเบียนและป้องปรามคอร์รัปชัน เพราะคอร์รัปชันเกิดได้แต่ในองค์กรที่ระบบธรรมาภิบาลบกพร่องอย่างรุนแรงเท่านั้น
นอกจากนี้ นโยบายการออกเสียงแทนยังสามารถเป็น “จุดขาย” ของกองทุน ดึงดูดนักลงทุนที่อยากมีส่วนยกระดับธรรมาภิบาลของภาคธุรกิจ
แนะนำหนังสือ “บันทึกจากหุบเขาฝนโปรยไพร”
ตีพิมพ์ครั้งแรกในคอลัมน์ writer’s pick นิตยสาร IMAGE ฉบับเดือนสิงหาคม 2012 นังสือทั้งหมดทั้งมวลในโลกแบ่งได้เป็นสองประเภทเท่านั้นในทัศนะของผู้เขียน คือหนังสือที่อ่านเร็วได้
รวมคลิป animation ชุด “ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา”
เห็น เพจ V-Reform (เครือข่ายวิชาการเพื่อการปฏิรูป) แนะนำว่าคลิป animation ตอน “ความเหลื่อมล้ำด้านทรัพยากร” เป็นตอนสุดท้ายแล้ว เลยรวบรวมมาไว้ที่เดียวกัน เพื่อความสะดวกในการค้นค่ะ 🙂
คลิป animation สรุปเนื้อหาบางส่วนจากหนังสือ “ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา” ที่เขียนให้กับสมัชชาปฏิรูปเมื่อปี 2554 (ยังดาวน์โหลดในฟอร์แมท epub และ PDF ได้จากบล็อกนี้) ทั้งหมดมี 4 ตอน สร้างสรรค์โดยทีมงานกระต่ายตื่นตัว และ V-Reform – ขอขอบคุณทั้งสองกลุ่มมา ณ ที่นี้ 😀
ตอนที่ 1: ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา (คลิปสรุป)
ตอนที่ 2: ความเหลื่อมล้ำด้านเศรษฐกิจ
คำนิยมหนังสือ “สวมวิญญาณนักเศรษฐศาสตร์”
หนังสือออกสักพักแล้ว แต่เพิ่งนึกขึ้นได้ว่ายังไม่ได้เอาคำนิยมมาแปะในนี้ วันนี้เลยเอามาแปะค่ะ เพราะชอบทั้งคนเขียนและคนแปลมาก 🙂 ป.ล. หนังสือใหม่สองเล่มของตัวเองที่ออกในงานหนังสือ เม.ย. 2555 คือ