กลไกกำกับการลงทุนข้ามพรมแดน? ข้อคิดจากคดีเขื่อนไซยะบุรี
ข้อคิดจากคำตัดสินของศาลปกครองสูงสุดในคดีไซยะบุรี คำตัดสินครั้งประวัติศาสตร์เพราะคดีนี้เป็นคดีแรกที่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการของคนไทยที่สร้างในประเทศอื่น (เขื่อนของบริษัทไทย ออกทุนสนับสนุนโดยธนาคารไทย 100% และขายไฟฟ้า 95% ให้ไทย)
ถอดรื้อมายา(อ)คติรัฐสวัสดิการในสังคมไทย
ปาฐกถา ณ เวทีขับเคลื่อนรัฐสวัสดิการ 2022, 25 มิถุนายน 2565
สารจาก อาร์โนลด์ ชวาเซเน็กเกอร์ ถึง “เพื่อนชาวรัสเซียที่รัก” และ “ทหารรัสเซียที่กำลังปฏิบัติหน้าที่ในยูเครน”
สารจาก อาร์โนลด์ ชวาเซเน็กเกอร์ ถึง “เพื่อนชาวรัสเซียที่รัก” และ “ทหารรัสเซียที่กำลังปฏิบัติหน้าที่ในยูเครน”
ฉากทัศน์ที่เลวร้ายที่สุด 7 ฉาก จากสงครามในยูเครน
บทความโดย Niall Ferguson นักประวัติศาสตร์ชาวสก็อตชื่อดัง วิเคราะห์สถานการณ์ล่าสุดในสงครามยูเครนและฉากทัศน์ที่น่าจะเกิดขึ้น
เหล่าอเมริกันกูรูผู้อดไม่ได้ที่จะกล่าว “ปัจจิมกถา” ว่าด้วยยูเครน
แปลจากบทความ The American Pundits Who Can’t Resist “Westsplaining” Ukraine โดย
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี: โซ่ตรวนฉุดรั้งประเทศ
พูดในงานเสวนา “ขอคนละชื่อ รื้อระบอบประยุทธ์” วันที่ 6 เมษายน 2564 ก่อนอื่น ขอขอบคุณกลุ่ม Re-Solution
ขยับ ปรับ เปลี่ยน: มองกฎหมายในยามพลิกผัน
สฤณี อาชวานันทกุล บรรยายในงาน “จินตนาการใหม่ภูมิทัศน์นิติศาสตร์ไทย” คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 20 พฤศจิกายน 2563 ขอขอบคุณอาจารย์สมชาย
ความเป็นสากลของประชาธิปไตย
ในสายตาของผู้เขียน การเคลื่อนไหวของ “มวลมหาประชาชน” หลังจากที่นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาในเดือนพฤศจิกายน 2556 ได้กระโดดข้ามเส้นความชอบธรรมที่ออกมาต่อต้าน “เผด็จการเสียงข้างมาก” ไปสู่การเป็นม็อบที่กำลังทำตัวเป็น “เผด็จการเสียงข้างน้อย” โดยไม่แยแสว่า ประชาธิปไตยต้องใส่ใจทั้ง “เป้าหมาย” และ “วิธีการ”
“ตุลาการที่ดี” ในความเห็นของข้าพเจ้า
เขียนเพื่อตีพิมพ์ในหนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ สกล เหมือนพะวงศ์ ม.ป.ช., ม.ว.ม. บิดาของ สุนทรียา เหมือนพะวงศ์ รุ่นพี่ที่เคารพ, 10 สิงหาคม 2563