บันทึก EISENHOWER FELLOWSHIP 2013 (3)
(บันทึกก่อนหน้า: ปฏิทินการเดินทาง, วันที่ 1 & 2, วันที่สาม) วันที่สี่ ฟิลาเดลเฟีย: 2/10/2013กิจกรรมวันนี้สนุกดี ผู้เขียนจดโน้ตได้มากกว่าทุกวันที่ผ่านมา อาจเป็นเพราะนี่เป็นวันแรกที่เขาเริ่ม “สอน”
บันทึก EISENHOWER FELLOWSHIP 2013 (2)
(บันทึกก่อนหน้า: ปฏิทินการเดินทาง, วันที่ 1 & 2) วันที่สาม ฟิลาเดลเฟีย: 1/10/2013ตอนเช้าเจ้าหน้าที่มูลนิธิมาพาพวกเราเดินไป National
บันทึก Eisenhower Fellowship 2013 (1)
(เซิร์ฟเวอร์มีปัญหา ทยอยอัพรูปไม่ได้ ไว้จะลองใหม่นะคะ ระหว่างนี้ค้นคำว่า “Eisenhower” บนบล็อก หรือใช้แท็ก “EF2013” ถ้าอยากดูเนื้อหาทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับทริปนี้ ทั้งข้อเขียนและรูป)
ปฏิทินการเดินทางเยือนอเมริกา 7 สัปดาห์ โดยทุน Eisenhower
มาแจ้งข่าวว่า กำลังจะเดินทางไปสหรัฐอเมริกา 7 สัปดาห์ ระหว่างวันที่ 28 กันยายน ถึง 20 พฤศจิกายน
(UPDATE 26/9) ตรรกะวิบัติที่พบบ่อยที่สุดในเน็ตไทย
คิดคร่าวๆ ไปเรื่อยๆ 1) ยิงหุ่นฟาง – เอาจุดที่อ่อนที่สุดของฝ่ายตรงข้ามมาขยายใหญ่ให้พองโตเกินกว่าที่เขาพูด และโจมตีแต่เฉพาะจุดนั้นราวกับว่าเขาพูดแต่จุดนั้น ไม่เคยมีเหตุผลอื่นเลย
วิธีคิดแบบเท็ด กับนกแก้ววิกิ
เขียนบทความเรื่อง “วิธีคิดแบบเท็ด กับนกแก้ววิกิ” ให้กับคอลัมน์ all around me ของนิตยสาร Trust (นิตยสารรายไตรมาสสำหรับสมาชิก
ป่าสาละ กับการกลับมาทำ “งานประจำ”
หลังจากที่เป็น “หอกอิสระ” อย่างสบายใจ (ยกเว้นตอนใกล้เวลาส่งงาน) มาเกือบเจ็ดปี ตอนนี้ก็ถึงเวลาทิ้งหอก กลับมาทำ “งานประจำ” อีกรอบแล้วค่ะ เรื่องของเรื่องคือ
พิราบน้อย / small pigeon
ล้าสมัยเท่าสมัยที่ล้าหลัง
ยิ่งเซซังโทรมทรุดลอยหลุดร่วง
กล้าตอบโจทย์กลายตอบโจทก์ประโยชน์กลวง
ไฟกี่ดวงก็มอดไหม้ให้อาดูรฯ
10 เรื่องไม่ควรทำเวลาทำแผนธุรกิจเพื่อสังคม
หลังจากที่ได้รับเกียรติให้เป็นหนึ่งในคณะกรรมการตัดสินการประกวดแผนธุรกิจเพื่อสังคม Global Social Venture Competition (GSVC) รอบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ติดต่อกันมาสี่ปี รวมถึงการประกวดอื่นที่คล้ายกัน แผนธุรกิจเพื่อสังคมผ่านตาไปนับร้อยฉบับ ได้รับความรู้มากมายจากการร่วมวงถกเถียงและบางครั้งก็ทุ่มเถียงกับเพื่อนกรรมการ ซึ่งหลายคนเป็นนักธุรกิจเพื่อสังคมหรือนักลงทุนเพื่อสังคมระดับโลก ผู้เขียนก็คิดว่าน่าจะรวบรวมข้อค้นพบ ข้อคิด และข้อสังเกตต่างๆ ตลอดระยะเวลาสี่ปีมาประมวลเป็นรายการ “10 เรื่องไม่ควรทำ” เผื่อจะเป็นประโยชน์กับใครก็ตามที่สนใจจะทำธุรกิจเพื่อสังคมบ้างไม่มากก็น้อย นอกจากนี้ ผู้เขียนก็คิดว่าข้อสังเกตบางข้ออาจเป็นประโยชน์กับผู้ที่กำลังเขียนแผนธุรกิจกระแสหลักด้วย
เบอร์จิตตา ยอนส์ดอตตีร์: พลังแห่งการเคลื่อนไหวในระบอบ
ผู้หญิงบางคนเปลี่ยนโลกด้วยการพิสูจน์ให้เห็นว่า นักเคลื่อนไหวไม่จำเป็นต้องสร้างการเปลี่ยนแปลงจากนอกระบบเสมอไป แต่สามารถเข้าไปอยู่ในระบบได้โดยไม่ถูก “กลืน” จนกลายเป็นฟันเฟืองของระบบที่ตัวเองเคยต่อต้าน ในทางตรงกันข้าม นักเคลื่อนไหวที่ได้รับเสียงสนับสนุนจากประชาชนให้เข้าไปทำงานในสภา สามารถผลักดันวาระของประชาชน ให้ผลงานเป็นเครื่องพิสูจน์จุดยืนและฝีมือ และฝีมือของกวีเก่งๆ เพียงคนเดียว บางครั้งก็เพียงพอต่อการสร้างการเปลี่ยนแปลง
You must be logged in to post a comment.